จุดเน้นการดำเนินงานกรมส่งเสริมการเรียนรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๘
นโยบาย "เรียนดี มีความสุข" ตามแนวทาง จับมือไว้แล้วไปด้วยกัน
คนยะลาได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความสุข พร้อมเข้าสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต
- จัด ส่งเสริม และสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต การเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง และการเรียนรู้ เพื่อคุณวุฒิตามระดับ ที่มีคุณภาพ เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ และยกระดับการศึกษาของประชาชน ให้สามารถ ปรับตัวในการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม และมีสมรรถนะพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคใหม่
- ผลิตและพัฒนาหลักสูตร โปรแกรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรมการเรียนรู้ วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน สอดคล้องกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ และสภาวการณ์การพัฒนาของประเทศ
- ส่งเสริมการนำเทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรมที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดและส่งเสริมการเรียนรู้ ให้ประชาชนสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา
- สร้างและประสานความร่วมมือเชิงรุกกับภาคีเครือข่าย ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ รูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา
- พัฒนาระบบบริหารจัดการภายในองค์กรให้มีความทันสมัย โดยยึดหลักธรรมาภิบาล เพื่อการส่งเสริมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
- พัฒนาและยกระดับศักยภาพบุคลากรทุกประเภท ทุกระดับ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และการส่งเสริมการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ
- Quick Win ระยะเร่งด่วน (ภายใน ๖ เดือน)
- “ล็อคเป้า เฝ้าฟื้นฟู” ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนที่หลุดออกจากระบบการศึกษา รวมถึงเด็กตกหล่นให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษา (Zero Dropout)
- จัดระบบวัดผลเทียบระดับการศึกษาและประเมินผลการศึกษา
- สำรวจประชากรผู้ไม่รู้หนังสือของประชาชน (วัย ๑๕ ปีขึ้นไป)
- พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน ที่สอดคล้องกับบริบทและภารกิจของกรมส่งเสริม การเรียนรู้เพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
- ด้านการสร้างโอกาสเข้าถึงการเรียนรู้
- “เรียนทุกที่ รู้ทุกเวลา” (Anywhere Anytime)
- “อ่านได้ทุกที่ เข้าถึงได้ทุกคน” สร้างพื้นที่และกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเชิงรุก อย่างเป็นกระบวนการ
- สร้างโอกาสให้คนทุกช่วงวัยเข้าถึงการศึกษาได้อย่างเท่าเทียมและมีคุณภาพ
- ด้านการยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนรู้
- พัฒนาระบบสะสมหน่วยการเรียนรู้ในธนาคารหน่วยกิต (Credit Bank System)
- จัดให้มีระบบแนะแนวทางสำหรับผู้เรียน (Coaching)
- “สกร. Learn to Earn” สร้างงาน สร้างรายได้
- “DO-LE (ดูแล) Safety Zone” ส่งเสริมมาตรการความปลอดภัยให้กับผู้เรียน
- ๑ อำเภอ ๑ หน่วยจัดการเรียนรู้คุณภาพ
- พัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ “STEM for HEALTH”
- จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตามโครงการพระราชดำริและเสริมสร้างความมั่นคง ทั้งในพื้นที่พิเศษและพื้นที่ชายแดน
- ด้านการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
- “จับมือไว้ แล้วไปด้วยกัน”
- สร้างวิทยากรจากภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือปราชญ์ชาวบ้าน
- ส่งเสริมให้ประชาชนมีนิสัยรักการเรียนรู้ ผ่านกลไกอาสาสมัครส่งเสริมการเรียนรู้ (อสกร.)
- ด้านการพัฒนาประสิทธิภาพบุคลากรและระบบบริหารจัดการ
- เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคล
- ส่งเสริมให้หน่วยงานและบุคลากรปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาล
- การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ
- ข้อสั่งการและแนวปฏิบัติของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ)
- ให้นำนโยบายด้านการศึกษาของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา และนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ไปดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม (Action Plan)
- ให้ยึดหลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน และดำเนินการป้องกันและปราบปรามการทุจริตอย่างเคร่งครัด เช่น การสอบ การบรรจุ แต่งตั้งโยกย้าย (ห้ามซื้อ-ขายตำแหน่ง) ห้ามทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างวัสดุ ครุภัณฑ์ ชุดนักเรียน อาหารกลางวัน ฯลฯ
- น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ
- ให้ร่วมกันปลูกฝัง รักษาสิ่งแวดล้อมและมุ่งสู่การใช้พลังงานสะอาด
- ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ และการอ่านอย่างเป็นกระบวนการ โดยผู้บริหารและครูต้องเป็นต้นแบบ
- การลงพื้นที่ตรวจราชการหรือตรวจเยี่ยม ให้ดำเนินการอย่างเรียบง่าย ให้เฉพาะผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องมาร่วมรับการตรวจราชการหรือตรวจเยี่ยม โดยให้มีการดำเนินการอย่างเรียบง่ายและประหยัด เช่น ไม่ต้องผูกผ้า ไม่ต้องติดป้ายต้อนรับ ไม่มีของที่ระลึกหรือของฝากใด ๆ ทั้งสิ้น
- “ล็อคเป้า เฝ้าฟื้นฟู” ช่วยเหลือเด็กและเยาวชนที่หลุดออกจากระบบการศึกษา รวมถึงเด็กตกหล่นให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษา (Zero Dropout)
- จัดระบบวัดผลเทียบระดับการศึกษาและประเมินผลการศึกษา
- สำรวจประชากรผู้ไม่รู้หนังสือของประชาชน (วัย ๑๕ ปีขึ้นไป)
- พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน ที่สอดคล้องกับบริบทและภารกิจของกรมส่งเสริม การเรียนรู้เพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
- “เรียนทุกที่ รู้ทุกเวลา” (Anywhere Anytime)
- “อ่านได้ทุกที่ เข้าถึงได้ทุกคน” สร้างพื้นที่และกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเชิงรุก อย่างเป็นกระบวนการ
- สร้างโอกาสให้คนทุกช่วงวัยเข้าถึงการศึกษาได้อย่างเท่าเทียมและมีคุณภาพ
- พัฒนาระบบสะสมหน่วยการเรียนรู้ในธนาคารหน่วยกิต (Credit Bank System)
- จัดให้มีระบบแนะแนวทางสำหรับผู้เรียน (Coaching)
- “สกร. Learn to Earn” สร้างงาน สร้างรายได้
- “DO-LE (ดูแล) Safety Zone” ส่งเสริมมาตรการความปลอดภัยให้กับผู้เรียน
- ๑ อำเภอ ๑ หน่วยจัดการเรียนรู้คุณภาพ
- พัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ “STEM for HEALTH”
- จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตามโครงการพระราชดำริและเสริมสร้างความมั่นคง ทั้งในพื้นที่พิเศษและพื้นที่ชายแดน
- “จับมือไว้ แล้วไปด้วยกัน”
- สร้างวิทยากรจากภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือปราชญ์ชาวบ้าน
- ส่งเสริมให้ประชาชนมีนิสัยรักการเรียนรู้ ผ่านกลไกอาสาสมัครส่งเสริมการเรียนรู้ (อสกร.)
- เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคล
- ส่งเสริมให้หน่วยงานและบุคลากรปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาล
- การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ
- ให้นำนโยบายด้านการศึกษาของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา และนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ไปดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม (Action Plan)
- ให้ยึดหลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน และดำเนินการป้องกันและปราบปรามการทุจริตอย่างเคร่งครัด เช่น การสอบ การบรรจุ แต่งตั้งโยกย้าย (ห้ามซื้อ-ขายตำแหน่ง) ห้ามทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างวัสดุ ครุภัณฑ์ ชุดนักเรียน อาหารกลางวัน ฯลฯ
- น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ
- ให้ร่วมกันปลูกฝัง รักษาสิ่งแวดล้อมและมุ่งสู่การใช้พลังงานสะอาด
- ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ และการอ่านอย่างเป็นกระบวนการ โดยผู้บริหารและครูต้องเป็นต้นแบบ
- การลงพื้นที่ตรวจราชการหรือตรวจเยี่ยม ให้ดำเนินการอย่างเรียบง่าย ให้เฉพาะผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องมาร่วมรับการตรวจราชการหรือตรวจเยี่ยม โดยให้มีการดำเนินการอย่างเรียบง่ายและประหยัด เช่น ไม่ต้องผูกผ้า ไม่ต้องติดป้ายต้อนรับ ไม่มีของที่ระลึกหรือของฝากใด ๆ ทั้งสิ้น